*ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันหยุดสิ้นปีและเป็นช่วงหลังสอบกลางภาคเรียน*
บันทึกอนุทิน วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ (EAED2209) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
วันจันทร์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2556
วันอังคารที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2556
บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 5
6 ธันวาคม 2556
กิจกรรมการเรียน การสอน
พัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
กิจกรรมการเรียน การสอน
พัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
พัฒนาการ
- การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆ
- ทำให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนานการ
- มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
- พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านใดด้านหนึ่ง หรือหลายด้าน
- พัฒนาการล่าช้าในดานหนึ่งอาจส่งผลให้พัฒนาการในด้านอื่ล่าช้าไปด้วย
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการ
- ปัจัยด้านชีวาพ เช่น พันธุกรรม
- ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
- ปัจจัยด้านกรบวนการคลอด
- ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด
สาเหตุที่ให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
1. โรคทางพันธุกรรม
1. โรคทางพันธุกรรม
- เด็กจะมีพัฒนาการล่าช้ามาตั้งแต่เกิดหรือสังเกตได้ในช่วงระยะเวลาที่ไม่นานหลังการเกิด มักมีลักษณะผิดปกติมาตั้งแต่เกิดร่วมด้วย เช่น ผิวเผือก ท้าวแสนปม ตาบอดและหูหนวก ดาวน์ซิลโดรม มะเร็ง เบาหวาน
2. โรคทางระบบประสาท
- เด็กที่มีความกพร่องทางัฒนาการสวนใหญ่ที่มีอาการหรืออาการแสดงทางระบบประสาทร่วมด้วย
- ที่พบบ่อย คือ อาการชัก
3. การติดเชื้อ
- ตั้งแต่ในครรภ์ น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย ศีรษะเล็กกว่าปกติ อาจมีตับ ม้ามโต การได้ยินบกพร่อง ต้อกระจก
- นอกจากนี้ การติดเชื้อรุนแรงภายหลังคลอด เช่น สมองอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เป็นสาเหตุที่พบได้บ้าง
4. ความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม
- โรคที่ต้องเป็นปัญหาสาธารณสุขไทย คือ ไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำ
5. ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด
- เกิดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย และภาวะขาดออกซิเจน
6. สารเคมี
- ตะกั่ว
- เป็นสารที่มีผลกระทบต่อเด็กและมีการศึกษามากที่สุด
- มีอาการซึมเศร้า เคลื่อนไหวช้า ผิวดำหมอง คล้ำเป็นจุดๆ
- ภาวะตับเป็นพิษ
- ระดับสติปัญญาต่ำ
- แอลกอฮอล์
- น้ำหนักแรกเกิดน้อย
- มีอัตราการเพิ่มน้ำหนักหลังเกิดน้อย ศีรษะเล็ก
- พัฒนาการทางสติปัญญามีความบกพร่อง
- เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
- Fetal alcohol syndrome,Fas คือ ช่องตาสั้น ริมฝีปากบนเรียบ ยาวและบาง หนังหุ้มหัวตาหนามาก จมูกแบน และปลายจมูกเชิดขึน
- นิโคติน
- น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย ขาดสารอาหารในระยะตั้งครรภ์
- เพิ่มอัตราการตายในวัยทารก
- บกพร่องทางด้านสติปัญญา
- สมาธิสั้น พฤติกรรมก้าวร้าว มีปัญหาด้านการเข้าสังคม
- โรคประจำตัว
- การเจ็บป่วยในครอบครัว
- ประวัติการฝากครรภ์
- ประวัติเกี่ยวกับคลอด
- พัฒนาการที่ผ่านมา
- การเล่นตามวัย การช่วยเหลือตนเอง
- ปัญหาพฤติกรรม
- ประวัติอื่นๆ
เมื่อซักประวัติแล้ว จะสามารถบอกได้ว่า
- ลักษณะพัฒนาการล่าช้าเป็นแบบคงที่หรือถดถอย
- เด็กมีพัฒนาการช้าหรือไม่ อย่างไร อยู่ไหนระดับไหน
- มีข้อบ่งชี้ว่ามีสาเหตุจากโรคทางพันธุกรรมหรือไม่
- สาเหตุของความบกพร่องทางพัฒนาการนั้นเกิดจากอะไร
- ขณะนี้เด็กได้รับการช่วยเหลือและฟื้นฟูอย่างไร
2. การตรวจร่างกาย
- ตรวจร่างกายทั่วไปและการเจริญเติบโต
- ภาวะตับม้ามโต
- ผิวหนัง
- ระบบประสาทและวัดศีรษะด้วยเสมอ
- ดูลักษณะของเด็กที่ถูกทารุณกรรม (Child abuse)
- ระบบการมองเห็นและการได้ยิน
3. การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการ
4. การประเมินพัฒนาการ
4. การประเมินพัฒนาการ
- การประเมินแบบไม่เป็นทางการ
การประเมินที่ใช้เวชปฏิบัติ
- แบบทดสอบ Denver II
- Gesell DDrawing Test
- แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิด - 5 ปี ของสถาบันราชานุกูล
แนวทางในการดูแลรักษา
- หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
- การตรวจค้นหาความผิดปกติร่วม
- การรักษาหาสาเหตุโดยตรง
- การส่งเสริมพัฒนาการ
- ให้คำปรึกษากับครอบครัว
ขั้นตอนในการดูแลเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
- การคัดกรองพัฒนาการ
- การประเมินพัฒนาการ
- การให้การวินิจฉัยและหาสาเหตุ
- การให้การรักษาและส่งเสริมพัฒนาการ
- การติดตามและประเมินผลการรักษาเป็นระยะ
บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 4
29 พฤศจิกายน 2556
กิจกรรมการเรียน การสอน
เด็กสมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity Disorders)
* เรียกสั้นๆว่า ADHD
* เด็กที่ซน อยู่ไม่นิ่ง ซนมากผิดปกติ เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา
* เด็กบางคนมีปัญหาเรื่องสมาธิบกพร่อง อาการหุนหันพลันแล่น
* ขาดความยับยั้งชั่งใจ เด็กเหล่านี้ทางการแพทย์เรียกว่า Attention Deficit Disorders (ADD)
ลักษณะของเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
1. อุจจาระ ปัสสาวะรดเสื้อผ้าหรือที่นอน
2. ติดขวดนม ตุ๊กตา หรือของใช้ในวัยทารก
3. ดูดนิ้ว กัดเล็บ
4. เรียกร้องความสนใจ
5. อารมณ์หวั่นไหวง่ายต่อสิ่งเร้า
6. ขี้อิจฉา ริษยา ก้าวร้าว
7. ฝันกลางวัน
8. พูดเพ้อเจ้อ
9. หงอยเหงา เศร้าซึม และมีการหนีสังคม
7. เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ (Children With Learning Disabilities)
* เรียกย่อๆว่า L.D.
* มีปัญหาทางการเรียนรู้เฉพาะอย่าง
* มีปัญหาทางการใช้ภาษาหรือการพูดและการเขียน
* ไม่นับรวมเด็กที่มีปัญหาเพียงเล็กน้อยทางการเรียน เด็กที่มีปัญหาเนื่องจากความพิการ หรือ ความบกพร่องทางร่างกาย
ลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
1. มีปัญหาในทักษะคณิตศาสตร์
2. ปฏิบัติตามคำสั่งไม่ได้
3. เล่าเรื่อง/ลำดับเหตุการณ์ไม่ได้
4. มีปัญหาด้านการอ่าน/เขียน
5. ซุ่มซ่าม
6. รับลูกบอลไม่ได้
7. ติดกระดุมไม่ได้
8. เอาแต่ใจตัวเอง
8. เด็กออทิสติก (Autistic)
* หรือออทิซึ่ม
* มีความบกพร่องอย่างรุนแรงในการสื่อความหมาย พฤติกรรม สังคมและความสามารถทางสติปัญญาในการรับรู้
* เด็กออทิสติกแต่ละคนจะมีเอกลักษณ์ของตนเอง
* อาการนี้จะติดตัวไปตลอดชีวิต
* มีทักษะทางภาษา สังคม ที่ต่ำ
ลักษณะของเด็กออทิสติก
1. อยู่ในโลกของตัวเอง
2. ไม่เข้าไปหาใครเพื่อให้ปลอบใจ
3. ไม่เข้าไปเล่นในกลุ่มเพื่อน
4. ไม่ยอมพูด
5. มีการเคลื่อนไหวแบบซ้ำๆ
6. ยึดติดวัตถุ
7. ต่อต้าน หรือแสดงกิริยาอารมณ์รุนแรงและไร้เหตุผล
8. มีท่าทางเหมือนคนหูหนวก
9. ใช้วิธีการสัมผัส และเรียนรู้สิ่งต่างๆด้วยวิธีการที่ต่างจากคนทั่วไป
9. เด็กพิการซ้อน
* มีความบกพร่องที่มากกว่า 1 อย่าง เป็นเหตุให้เด็กเกิดปัญหาขัดข้องในการเรียนรู้อย่างมาก
* เด็กปัญญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน
* เด็กปัญญาอ่อนที่ตาบอด
กิจกรรมการเรียน การสอน
6. เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
* เด็กที่ไมาสามารถควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในสภาพปกตินานๆได้
* เด็กที่ควบคุมพฤติกรรมบางอย่างของตนเองไม่ได้
* ไม่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเรียบร้อย
แบ่งได้ 2 ประเภท
1. เด็กที่ได้รับความกระทบกระเทือนทางอารมณ์
2. เด็กที่ปรับตัวเข้ากับสังคมไม่ได้ มักมีพฤติกรรมที่เห็นได้ชัด คือ
- วิตกกังวล
- หนีสังคม
- ก้าวร้าว
การจะจัดว่าเด็กมีความบกพร่องทางอารมณ์และพฤติกรรมต้องคำนึงถึงองค์ประกอบ ดังนี้
1. สภาพแวดล้อม
2. ความคิดเห็นของแต่ละบุคคล
ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อเด็ก
1. ไม่สามารถเรียนหนังสือได้เหมือนเด็กปกติ
2. รักษาความสัมพันธ์กับเพื่อนและครูไม่ได้
3. มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เมื่อเทียบกับเด็กวัยเดียวกัน
4. มีความคับข้องใข และมีความเก็บกดอารมณ์
5. แสดงอาการทางร่างกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดตามส่วนต่างๆของร่างกาย
6. มีอาการหวาดกลัว
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรม ซึ่งจัดว่ามีความรุนแรงมาก
* เด็กสมาธิสั้น
* เด็กออทิสติก หรือ ออทิสซึ่ม
1. ไม่สามารถเรียนหนังสือได้เหมือนเด็กปกติ
2. รักษาความสัมพันธ์กับเพื่อนและครูไม่ได้
3. มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เมื่อเทียบกับเด็กวัยเดียวกัน
4. มีความคับข้องใข และมีความเก็บกดอารมณ์
5. แสดงอาการทางร่างกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดตามส่วนต่างๆของร่างกาย
6. มีอาการหวาดกลัว
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรม ซึ่งจัดว่ามีความรุนแรงมาก
* เด็กสมาธิสั้น
* เด็กออทิสติก หรือ ออทิสซึ่ม
เด็กสมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity Disorders)
* เรียกสั้นๆว่า ADHD
* เด็กที่ซน อยู่ไม่นิ่ง ซนมากผิดปกติ เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา
* เด็กบางคนมีปัญหาเรื่องสมาธิบกพร่อง อาการหุนหันพลันแล่น
* ขาดความยับยั้งชั่งใจ เด็กเหล่านี้ทางการแพทย์เรียกว่า Attention Deficit Disorders (ADD)
ลักษณะของเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
1. อุจจาระ ปัสสาวะรดเสื้อผ้าหรือที่นอน
2. ติดขวดนม ตุ๊กตา หรือของใช้ในวัยทารก
3. ดูดนิ้ว กัดเล็บ
4. เรียกร้องความสนใจ
5. อารมณ์หวั่นไหวง่ายต่อสิ่งเร้า
6. ขี้อิจฉา ริษยา ก้าวร้าว
7. ฝันกลางวัน
8. พูดเพ้อเจ้อ
9. หงอยเหงา เศร้าซึม และมีการหนีสังคม
7. เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ (Children With Learning Disabilities)
* เรียกย่อๆว่า L.D.
* มีปัญหาทางการเรียนรู้เฉพาะอย่าง
* มีปัญหาทางการใช้ภาษาหรือการพูดและการเขียน
* ไม่นับรวมเด็กที่มีปัญหาเพียงเล็กน้อยทางการเรียน เด็กที่มีปัญหาเนื่องจากความพิการ หรือ ความบกพร่องทางร่างกาย
ลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
1. มีปัญหาในทักษะคณิตศาสตร์
2. ปฏิบัติตามคำสั่งไม่ได้
3. เล่าเรื่อง/ลำดับเหตุการณ์ไม่ได้
4. มีปัญหาด้านการอ่าน/เขียน
5. ซุ่มซ่าม
6. รับลูกบอลไม่ได้
7. ติดกระดุมไม่ได้
8. เอาแต่ใจตัวเอง
8. เด็กออทิสติก (Autistic)
* หรือออทิซึ่ม
* มีความบกพร่องอย่างรุนแรงในการสื่อความหมาย พฤติกรรม สังคมและความสามารถทางสติปัญญาในการรับรู้
* เด็กออทิสติกแต่ละคนจะมีเอกลักษณ์ของตนเอง
* อาการนี้จะติดตัวไปตลอดชีวิต
* มีทักษะทางภาษา สังคม ที่ต่ำ
ลักษณะของเด็กออทิสติก
1. อยู่ในโลกของตัวเอง
2. ไม่เข้าไปหาใครเพื่อให้ปลอบใจ
3. ไม่เข้าไปเล่นในกลุ่มเพื่อน
4. ไม่ยอมพูด
5. มีการเคลื่อนไหวแบบซ้ำๆ
6. ยึดติดวัตถุ
7. ต่อต้าน หรือแสดงกิริยาอารมณ์รุนแรงและไร้เหตุผล
8. มีท่าทางเหมือนคนหูหนวก
9. ใช้วิธีการสัมผัส และเรียนรู้สิ่งต่างๆด้วยวิธีการที่ต่างจากคนทั่วไป
9. เด็กพิการซ้อน
* มีความบกพร่องที่มากกว่า 1 อย่าง เป็นเหตุให้เด็กเกิดปัญหาขัดข้องในการเรียนรู้อย่างมาก
* เด็กปัญญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน
* เด็กปัญญาอ่อนที่ตาบอด
ดูโทรทัศน์ครู
"ผลิบาน ผ่านมือครู ตอน ห้องเรียนแรกของเด็กพิเศษ"
ดูวีดีโอ คลิก : http://www.thaiteachers.tv/vdo2.php?id=2490
วันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 3
22 พฤศจิกายน 2556
กิจกรรมการเรียนการสอน
4. เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ (Children with Physical and Health Impairments)
- เด็กที่มีอวัยวะไม่สมส่วน
- อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งขาดหายไป
- มีปัญหาทางระบบประสาท
- มีความลำบากในการเคลื่อนไหว
จำแนกได้
1. อาการบกพร่องทางร่างกาย
2. ความบกพร่องทางสุขภาพ
1. อาการบกพร่องทางร่างกาย
ซี.พี. (Cerebral Palsy)
- เป็นอัมพาต เนื่องจากระบบประสาทของสมองพิการ หรือเป็นผลมาจากสมองที่กำลังพัฒนาถูกทำลายก่อนคลอด ระหว่างคลอดหรือหลังคลอด
- การเคลื่อนไหว การพูด พัฒนาการล่าช้า เด็กซี.พี.มีความบกพร่องที่เกิดจากส่วนต่างๆของสมองแตกต่างกัน
อาการ
4. เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ (Children with Physical and Health Impairments)
- เด็กที่มีอวัยวะไม่สมส่วน
- อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งขาดหายไป
- มีปัญหาทางระบบประสาท
- มีความลำบากในการเคลื่อนไหว
จำแนกได้
1. อาการบกพร่องทางร่างกาย
2. ความบกพร่องทางสุขภาพ
1. อาการบกพร่องทางร่างกาย
ซี.พี. (Cerebral Palsy)
- เป็นอัมพาต เนื่องจากระบบประสาทของสมองพิการ หรือเป็นผลมาจากสมองที่กำลังพัฒนาถูกทำลายก่อนคลอด ระหว่างคลอดหรือหลังคลอด
- การเคลื่อนไหว การพูด พัฒนาการล่าช้า เด็กซี.พี.มีความบกพร่องที่เกิดจากส่วนต่างๆของสมองแตกต่างกัน
อาการ
1. อัมพาตเกร็งของแขนขา หรือครึ่งซีก (Spastic)
2. อัมพาตของลีลาการเคลื่อนไหวผิดปกติ (Athetoid)
3. อัมพาตสูญเสียการทรงตัว (Ataxia)
4. อัมพาตตึงแข็ง (Rigid)
5. อัมพาตแบบผสม (Mixed)
กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Muscular Distrophy)
- เกิดจากเส้นประสาทสมองที่ควบคุมกล้ามเนื้อส่วนต่างๆเสื่อมสลาย
- เดินไม่ได้ นั่งไม่ได้ นอนอยู่กับที่
- มีความพิการซ้อนในระยะหลัง คือ ความจำแย่ลงสติปัญญาเสื่อม
โรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้้อ (Orthopedic)
- ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการแต่กำเนิด เช่น เท้าปุก (Club foot) กระดูกข้อสะโพกเคลื่อน อัมพาตครึ่งท่อน เนื่องจากกระดูกไขสันหลังส่วนล่างไม่ติด (Spina Bifida)
- ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการด้วยโรคติดเชื้อ (Infection) เช่น วัณโรค กระดูกหลังโก่ง กระดูกผุ เป็นแผลเรื้อรัง มีหนอง เศษกระดูกผุ
- กระดูกหัก ข้อเคลื่อน ข้ออักเสบ
โปลิโอ (Poliomyelitis)
มีอาการ
- กล้ามเนื้อลีบเล็ก แต่ไม่มีผลกระทบต่อสติปัญญา
- ยืนไม่ได้ หรืออาจปรับสภาพให้ยืนเดินได้ด้วยอุปกรณ์เสริม
- แขนขาด้วนแต่กำเนิด (Limb Deficiency)
- โรคกระดูกอ่อน (Osteogenesis Imperfeta)
2. ความบกพร่องทางสุขภาพ
- โรคลมชัก (Epilepsy) เป็นลักษณะที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติของระบบสมอง
1. ลมบ้าหมู (Grand Mal)
เมื่อเกิดอาการชักจะทำให้หมดสติ และหมดความรู้สึกในขณะชักกล้ามเนื้อเกร็งหรือแขนขากระตุก กัดฟัน กัดลิ้น
2. การชักในช่วงเวลาสั้นๆ (Petit Mal)
- เป็นอาการชักระยะเวลา 5-10 วินาที
- เมื่อเกิดอาการชักเด็กจะหยุดชะงักในท่าก่อนชัก
- เด็กจะนั่งเฉย หรือเด็กอาจจะตัวสั่นเล็กน้อย
3. การชักแบบรุนแรง (Grand Mal)
- เด็กจะส่งเสียง หมดความรู้สึก ล้มลง กล้ามเนื้อเกร็ง เกิดราว 2-5 นาที จากนั้นจะหายและนอนหลับไปชั่วครู่
4. อาการชักแบบ Partial Complex
- เกิดอาการเป็นระยะ
- กัดริมฝีปาก ไม่รู้สึกตัว ถูตามแขนขา เดินไปมา
- บางคนอาจเกิดความโกรธหรือโมโห หลังชักอาจจำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ และต้องนอนพัก
5. อาการไม่รู้สึกตัว (Focal Partia)
- เป็นอาการที่เกิดขึ้นในระยะสั้น เด็กไม่รู้สึกตัว อาจทำอะไรบางอย่างโดยที่ตัวเองไม่รู้ เช่น ร้องเพลง ดึงเสื้อผ้า เดินเหม่อลอย แต่ไม่มีอาการชัก
-โรคระบบทางเดินหายใจ
- โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus)
- โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatiod Arthritis)
- โรคศีรษะโต (Hydrocephalus)
- โรคหัวใจ (Cardiac Conditions)
- โรคมะเร็ง (Cancer)
- เลือดไหลไม่หยุด (Hemophilia)
ลักษณะของเด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
1. มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
2. ท่าเดินคล้ายกรรไกร
3. เดินขากระเผลก หรืออืออาดเชื่องช้า
4. ไอเสียงแห้งบ่อยๆ
5. บ่นเจ็บหน้าอกบ่อยๆ ปวดหลังบ่อยๆ
6. หน้าแดงง่าย มีสีเขียวจางบนแก้ม ริมฝีปากหรือปลายนิ้ว
7. หกล้มบ่อย
8. หิวและกระหายน้ำอย่างเกินกว่าเหตุ
5. เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา (Children with Speech and Language Disorders)
* พูดไม่ชัด
* ออกเสียงผิดเพี้ยน
* อวัยวะที่ใช้ในการพูดไม่สามารถเป็นไปตามลำดับขั้น
* การใช้อวัยวะเพื่อการพูดไม่เป็นไปดังตั้งใจ
* มีอากัปกิริยาที่ผิดปกติขณะพูด
1. ความผิดปกติด้านการออกเสียง
* ออกเสียงเพี้ยนไปจากมาตรฐานของภาษาเดิม
* เพิ่มหน่วยเสียงเข้าใจคำโดยไม่จำเป็น
* เอาเสียงหนึ่งมาแทนอีกเสียงหนึ่ง เช่น กวาด เป็น ฝาด
2. ความผิดปกติด้านจังหวะเวลาของการพูด
* พูดรัว
* พูดติดอ่าง
3. ความผิดปกติด้านเสียง
* ระดับเสียง
* ความดัง
* คุณภาพของเสียง
4. ความผิดปกติด้านการพูดและภาษา เนื่องจากพยาธสภาพที่สมอง โดยทั่วไปเรียกว่า Dysphasia หรือ Aphasia
1. Motor Aphasia
* เข้าใจคำถามหรือคำสั่ง แต่พูดไม่ได้ ออกเสียงลำบาก
* พูดช้า พูดตามได้บ้าง บอกชื่อสิ่งของพอได้
* พูดไม่ถูกไวยากรณ์
2. Wernicke's Aphasia
* ไม่เข้าใจคำถาม ได้ยินแต่ไม่เข้าใจความหมาย
* ออกเสียงไม่ติดขัด แต่มักใช้คำผิดๆหรือใช้คำอื่นซึ่งไม่มีความหมายแทน
3. Conduction Aphasia
* ออกเสียงได้ไม่ติดขัด เข้าใจคำถามดี แต่พูดหรือบอกชื่อสิ่งของไม่ได้
* มักเกิดร่วมกับอัมพาตของร่างกายซีกขวา
4. Nominal Aphasia
* ออกเสียงได้ เข้าใจคำถามดี พูดตามได้ แต่บอกชื่อวัตถุไม่ได้ เพราะลืมชื่อ
* บางทีไม่เข้าใจความหมายของคำ มักเกิดขึ้นร่วมกับ Gerstmann's Syndrome
5. Global Aphasia
* ไม่เข้าใจทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน
* พูดไม่ได้เลย
6. Sensory Agraphia
* เขียนเองไม่ได้ เขียนตอบคำถามหรือชื่อวัตถุไม่ได้
* เกิดร่วมกับ Gerstmann's Syndrome
7. Motor Agraphia
* เด็กที่ลอกตัวเขียนหรือตัวพิมพ์ไม่ได้
* เขียนตามคำบอกไม่ได้
8. Contical Alexia
* อ่านไม่ออก เพราะไม่เข้าใจภาษา
9. Motor Alexia
* เห็นตัวเขียนหรือตัวพิมพ์ เข้าใจความหมาย
* อ่านออกเสียงไม่ได้
10. Gerstmann's Syndrome
* ไม่รู้ชื่อนิ้ว
* ไม่รู้ซ้ายขวา
* คำนวณไม่ได้
* เขียนไม่ได้
* อ่านไม่ออก
11. Visual Agnosia
* มองเห็นวัตถุ แต่ไม่รู้ว่าเป็นอะไร
* บอกชื่อนิ้วตัวเองไม่ได้
12. Audrtory Agnosia
* ไม่มีความบกพร่องทางการได้ยิน แต่แปลความหมายของคำหรือประโยคที่ได้ยินไม่เข้าใจ
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการพูดและภาษา
1. ในวัยทารกมักเงียบผิดปกติ ร้องไห้เบาๆและอ่อนแรง
2. ไม่อ้อแอ้ภายใน 10 เดือน
3. ไม่พูดภายใน 2 ขวบ
4. หลัง 3 ขวบแล้วภาษาพูดของเด็กก็ยังฟังเข้าใจยาก
5. ออกเสียงตัวสะกดไม่ได้
6. หลัง 5 ขวบ เด็กยังคงใช้ภาษาที่เป็นประโยคไม่สมบูรณ์ในระดับประถมศึกษา
7. มีปัญหาในการสื่อความหมาย พูดตะกุกตะกัก
8. ใช้ท่าทางในการสื่อความหมาย
2. อัมพาตของลีลาการเคลื่อนไหวผิดปกติ (Athetoid)
3. อัมพาตสูญเสียการทรงตัว (Ataxia)
4. อัมพาตตึงแข็ง (Rigid)
5. อัมพาตแบบผสม (Mixed)
กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Muscular Distrophy)
- เกิดจากเส้นประสาทสมองที่ควบคุมกล้ามเนื้อส่วนต่างๆเสื่อมสลาย
- เดินไม่ได้ นั่งไม่ได้ นอนอยู่กับที่
- มีความพิการซ้อนในระยะหลัง คือ ความจำแย่ลงสติปัญญาเสื่อม
โรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้้อ (Orthopedic)
- ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการแต่กำเนิด เช่น เท้าปุก (Club foot) กระดูกข้อสะโพกเคลื่อน อัมพาตครึ่งท่อน เนื่องจากกระดูกไขสันหลังส่วนล่างไม่ติด (Spina Bifida)
- ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการด้วยโรคติดเชื้อ (Infection) เช่น วัณโรค กระดูกหลังโก่ง กระดูกผุ เป็นแผลเรื้อรัง มีหนอง เศษกระดูกผุ
- กระดูกหัก ข้อเคลื่อน ข้ออักเสบ
โปลิโอ (Poliomyelitis)
มีอาการ
- กล้ามเนื้อลีบเล็ก แต่ไม่มีผลกระทบต่อสติปัญญา
- ยืนไม่ได้ หรืออาจปรับสภาพให้ยืนเดินได้ด้วยอุปกรณ์เสริม
- แขนขาด้วนแต่กำเนิด (Limb Deficiency)
- โรคกระดูกอ่อน (Osteogenesis Imperfeta)
2. ความบกพร่องทางสุขภาพ
- โรคลมชัก (Epilepsy) เป็นลักษณะที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติของระบบสมอง
1. ลมบ้าหมู (Grand Mal)
เมื่อเกิดอาการชักจะทำให้หมดสติ และหมดความรู้สึกในขณะชักกล้ามเนื้อเกร็งหรือแขนขากระตุก กัดฟัน กัดลิ้น
2. การชักในช่วงเวลาสั้นๆ (Petit Mal)
- เป็นอาการชักระยะเวลา 5-10 วินาที
- เมื่อเกิดอาการชักเด็กจะหยุดชะงักในท่าก่อนชัก
- เด็กจะนั่งเฉย หรือเด็กอาจจะตัวสั่นเล็กน้อย
3. การชักแบบรุนแรง (Grand Mal)
- เด็กจะส่งเสียง หมดความรู้สึก ล้มลง กล้ามเนื้อเกร็ง เกิดราว 2-5 นาที จากนั้นจะหายและนอนหลับไปชั่วครู่
4. อาการชักแบบ Partial Complex
- เกิดอาการเป็นระยะ
- กัดริมฝีปาก ไม่รู้สึกตัว ถูตามแขนขา เดินไปมา
- บางคนอาจเกิดความโกรธหรือโมโห หลังชักอาจจำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ และต้องนอนพัก
5. อาการไม่รู้สึกตัว (Focal Partia)
- เป็นอาการที่เกิดขึ้นในระยะสั้น เด็กไม่รู้สึกตัว อาจทำอะไรบางอย่างโดยที่ตัวเองไม่รู้ เช่น ร้องเพลง ดึงเสื้อผ้า เดินเหม่อลอย แต่ไม่มีอาการชัก
-โรคระบบทางเดินหายใจ
- โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus)
- โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatiod Arthritis)
- โรคศีรษะโต (Hydrocephalus)
- โรคหัวใจ (Cardiac Conditions)
- โรคมะเร็ง (Cancer)
- เลือดไหลไม่หยุด (Hemophilia)
ลักษณะของเด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
1. มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
2. ท่าเดินคล้ายกรรไกร
3. เดินขากระเผลก หรืออืออาดเชื่องช้า
4. ไอเสียงแห้งบ่อยๆ
5. บ่นเจ็บหน้าอกบ่อยๆ ปวดหลังบ่อยๆ
6. หน้าแดงง่าย มีสีเขียวจางบนแก้ม ริมฝีปากหรือปลายนิ้ว
7. หกล้มบ่อย
8. หิวและกระหายน้ำอย่างเกินกว่าเหตุ
5. เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา (Children with Speech and Language Disorders)
* พูดไม่ชัด
* ออกเสียงผิดเพี้ยน
* อวัยวะที่ใช้ในการพูดไม่สามารถเป็นไปตามลำดับขั้น
* การใช้อวัยวะเพื่อการพูดไม่เป็นไปดังตั้งใจ
* มีอากัปกิริยาที่ผิดปกติขณะพูด
1. ความผิดปกติด้านการออกเสียง
* ออกเสียงเพี้ยนไปจากมาตรฐานของภาษาเดิม
* เพิ่มหน่วยเสียงเข้าใจคำโดยไม่จำเป็น
* เอาเสียงหนึ่งมาแทนอีกเสียงหนึ่ง เช่น กวาด เป็น ฝาด
2. ความผิดปกติด้านจังหวะเวลาของการพูด
* พูดรัว
* พูดติดอ่าง
3. ความผิดปกติด้านเสียง
* ระดับเสียง
* ความดัง
* คุณภาพของเสียง
4. ความผิดปกติด้านการพูดและภาษา เนื่องจากพยาธสภาพที่สมอง โดยทั่วไปเรียกว่า Dysphasia หรือ Aphasia
1. Motor Aphasia
* เข้าใจคำถามหรือคำสั่ง แต่พูดไม่ได้ ออกเสียงลำบาก
* พูดช้า พูดตามได้บ้าง บอกชื่อสิ่งของพอได้
* พูดไม่ถูกไวยากรณ์
2. Wernicke's Aphasia
* ไม่เข้าใจคำถาม ได้ยินแต่ไม่เข้าใจความหมาย
* ออกเสียงไม่ติดขัด แต่มักใช้คำผิดๆหรือใช้คำอื่นซึ่งไม่มีความหมายแทน
3. Conduction Aphasia
* ออกเสียงได้ไม่ติดขัด เข้าใจคำถามดี แต่พูดหรือบอกชื่อสิ่งของไม่ได้
* มักเกิดร่วมกับอัมพาตของร่างกายซีกขวา
4. Nominal Aphasia
* ออกเสียงได้ เข้าใจคำถามดี พูดตามได้ แต่บอกชื่อวัตถุไม่ได้ เพราะลืมชื่อ
* บางทีไม่เข้าใจความหมายของคำ มักเกิดขึ้นร่วมกับ Gerstmann's Syndrome
5. Global Aphasia
* ไม่เข้าใจทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน
* พูดไม่ได้เลย
6. Sensory Agraphia
* เขียนเองไม่ได้ เขียนตอบคำถามหรือชื่อวัตถุไม่ได้
* เกิดร่วมกับ Gerstmann's Syndrome
7. Motor Agraphia
* เด็กที่ลอกตัวเขียนหรือตัวพิมพ์ไม่ได้
* เขียนตามคำบอกไม่ได้
8. Contical Alexia
* อ่านไม่ออก เพราะไม่เข้าใจภาษา
9. Motor Alexia
* เห็นตัวเขียนหรือตัวพิมพ์ เข้าใจความหมาย
* อ่านออกเสียงไม่ได้
10. Gerstmann's Syndrome
* ไม่รู้ชื่อนิ้ว
* ไม่รู้ซ้ายขวา
* คำนวณไม่ได้
* เขียนไม่ได้
* อ่านไม่ออก
11. Visual Agnosia
* มองเห็นวัตถุ แต่ไม่รู้ว่าเป็นอะไร
* บอกชื่อนิ้วตัวเองไม่ได้
12. Audrtory Agnosia
* ไม่มีความบกพร่องทางการได้ยิน แต่แปลความหมายของคำหรือประโยคที่ได้ยินไม่เข้าใจ
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการพูดและภาษา
1. ในวัยทารกมักเงียบผิดปกติ ร้องไห้เบาๆและอ่อนแรง
2. ไม่อ้อแอ้ภายใน 10 เดือน
3. ไม่พูดภายใน 2 ขวบ
4. หลัง 3 ขวบแล้วภาษาพูดของเด็กก็ยังฟังเข้าใจยาก
5. ออกเสียงตัวสะกดไม่ได้
6. หลัง 5 ขวบ เด็กยังคงใช้ภาษาที่เป็นประโยคไม่สมบูรณ์ในระดับประถมศึกษา
7. มีปัญหาในการสื่อความหมาย พูดตะกุกตะกัก
8. ใช้ท่าทางในการสื่อความหมาย
วันพุธที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
บันทึการเข้าชั้นเรียน ครั้งที่ 2
15 พฤศจิกายน 2556
กิจกรรมการเรียน การสอน
1. ผู้สอนชี้แจงเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
- จิตพิสัย 10 คะแนน
- งานเดี่ยว (วิจัย) 10 คะแนน
- งานกลุ่ม (นำเสนอ) 20 คะแนน
- บันทึกอนุทิน (blog) 20 คะแนน
- โทรทัศน์ครู 10 คะแนน
- สอบกลางภาค 15 คะแนน
- สอบปลายภาค 15 คะแนน
2. วันนี้เรียนทฤษฎี เรื่อง เด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความหมาย
1. ทางการแพทย์ >> มกเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า "เด็กพิการ"
- เด็กผิดปกติ
- มีความบกพร่อง (กาย)
- สูญเสียสมรรถภาพ (สติปญญา และ จิตใจ)
2. ทางการศึกษา
- เด็กที่มีความต้องการทางการศึกษาเฉพาะของตัวเอง
- ต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็กปกติ ทางด้านเนื้อหา หลักสูตร กระบวนการใช้และประเมินผล
สรุปความหมาย
1. เด็กที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควร จากการให้ความช่วยเหลือ และการสอนตามปกติ
2. มีสาเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์
3. จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้น ช่วยเหลือ บำบัดและฟื้นฟู
4. จัดการเรียนการสอนที่เหมาะกับลักษณะและความต้องการของเด็กแต่ละบุคคล
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่
1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง
- มีปัญญาเลิศ (มีความเป็นเลิศทางสติปัญญา)
2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะความบกพร่อง
กระทรวงศึกษาธิการได้แบ่งออกเป็น 9 ประเภท ได้แก่
1. เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
2. เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
3. เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น
4. เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกสยและสุขภาพ
5. เด็กที่มีความบกพร่องทางการรพูดและภาษา
6. เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
7. เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
8. เด็กออทิสติก
9. พิการซ้ำซ้อน
-------------------------------------------------------------------------------------------------
1. เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา (Children with Inellectual Disabilities)
- เด็กมีระดับปัญญาหรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ย เมื่อเทียบกับเด็กในระดับอายเดียวกัน
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
1. เด็กเรียนช้า
2. เด็กปัญญาอ่อน
เด็กเรียนช้า
1. เรียนในชั้นเรียนปกติได้
2. มีความสามรถการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ
3. ขาดทักษะในการเรียนรู้
4. บกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย
5. ระดับปัญญา (IQ) ประมาณ 71 - 90
สาเหตุ
ภายนอก
1. เศรษฐกิจครอบครัว
2. สร้างเสริมประสบการณ์ให้แก่เด็ก
3. สภาวะด้านอารมณ์ของคนในครอบครัว
4. การเข้าเรียนไม่สม่ำเสมอ
5. วิธีการสอนไม่มีประสิทธิภาพ
ภายใน
1. พัฒนาการช้า
2. การเจ็บป่วย
เด็กปัญญาอ่อน
1. มีภาวะพัฒนาการหยุดชะงัก
2. แสดงลักษณะเฉพาะ คือ มีระดับปัญญาต่ำ
3. มีความสามารถในการเรียนรู้น้อย
4. มีความจำกัดทางด้านทักษะ
5. มีพัฒนาการทางร่างกายล่าช้าไม่สมวัย
6. มีความสามารถจำกัดในการปรบตัวต่อสิ่งแวดล้อม
แบ่งได้ 4 กลุ่ม (ตามระดับ IQ)
1. ปัญญาอ่อนขนาดหนักมาก IQ ต่ำกว่า 20
- ไม่สามารถเรียนรู้ทักษะด้านต่างๆได้เลย
- ต้องการเฉพาะการดูแลรักษาพยาบาบเท่านั้น
2. ปัญญาอ่อนขนาดหนัก IQ 20-34
- ไม่สามารถเรียนได้
- ต้องการเฉพาะการฝึกหัด การช่วยเหลือตัวเองในกิจวัตรประจำวันเบื้องต้นง่ายๆ
- เรียนในรดับประถมได้
- สามารถฝึกอาชีพและงานง่ายๆได้
- เรียก E.M.R. ( Educable Mentally Retarded)
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา (ปัญญาอ่อน ดาวน์ซิลโดรม)
1. ไม่พูด หรือ พูดไม่สมวัย
2. ช่วงความสนใจสั้น วอกแวกง่าย
3. ความคิดและอารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่าย รอคอยไม่ได้
4. ทำงานช้า
5. รุนแรง ไม่มีเหตุผล
6. อวัยวะบางส่วนมีรูปร่างผิดปกติ กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน
7. ช่วยตัวเองได้น้อยกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
2. เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน (Children with Hearing Impaired)
- เด็กที่สูญเสียการได้ยิน
- รับฟังเสียต่างๆได้ไม่ชัดเจน
แบ่งได้ 2 ประเภท
1. เด็กหูตึง
- เด็กที่สูยเสียการได้ยิน
- สามารรับข้อมูลได้ โดยใช้เครื่องช่วยฟัง
จำแนกกลุ่มย่อยได้ 4 กลุ่ม
1. เด็กหูตึงระดับน้อย (ได้ยินระหว่าง 26-40 dB)
- เสียงกระซิบ หรือ เสียงจากที่ไกลๆ
2. เด็กหูระดับปานกลาง (ได้ยินระหว่าง 41-55 dB)
- มีปัญหาในการรับฟังเสียงพูดคุยที่ดังในระดับปกติ ในระยะห่าง 3-5 ฟุตและไม่เห็นหน้าผู้พูด
- จะไม่ได้ยิน ได้ยินไม่ชัด จับใจความไม่ได้
- มีปัญหาในการพูดเล็กน้อย เช่น พูดไม่ชัด ออกเสียงเพี้ยน
3. เด็กหูตึงมาก (ได้ยินระหว่าง 56-70 dB)
- มีปัญหาในการรับฟังและเข้าใจคำพูด
- เมื่อพูดคุยกันด้วยเสียงดังเต็มที่ก็ยังไม่ได้ยิน
- มีปัญหาในการรับฟังเสียงหลายเสียงพร้อมกัน
- มีพัฒนาการทางภาษาและการพูดช้ากว่าปกติ
- พูดไม่ชัด เสียงเพี้ยน บางคนไม่พูด
4. เด็กหูตึงระดับรุนแรง (ได้ยินระหว่าง 71-90 dB)
- จะมีปัญหาในการรับฟงเสียงและการเข้าใจคำพูดยากมาก
- ได้ยินเฉพาะเสียงที่ดังใกล้หูในระยะ 1 ฟุต
- พูดคุยกันด้วยน้ำเสียงตะโกนหรือใช้เครื่องขยายเสียง
- มีปัญหาในการแยกเสียง
- พูดไม่ชัด บางคนเสียงผิดปกติ บางคนไม่พูดเลย
- เด็กกลุ่มนี้ต้องใช้ภาษามือในการสื่อสาร
2. เด็กหูหนวก
- สูญเสียการได้ยินมากถึงขนาดทำให้หมดโอกาสที่จะเข้าใจภาษาพูกจากการได้ยิน
- ไม่สามารถใช้เครื่องช่วยฟังได้
- ไม่สามารถเข้าใจหรือใช้ภาษาพูดได้
- ระดับการได้ยินตั้งแต่ 91 dB ขึ้นไป
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
1. ไม่ตอบสนองเสียงพูด เสียงดนตรี มักตะแคงหูฟัง
2. ไม่พูด แต่มักแสดงท่าทาง
3. พูดด้วยเสียงแปลก มักเปล่งเสียงสูง
4. พูดด้วยน้ำเสียงต่ำหรือด้วยเสียงที่ดังเกินความเป็นจริง
5. เวลาฟังมักจะมองปากของผู้พูด หรือจ้องหน้าผู้พูด
6. รู้สึกไวต่อการสั่นสะเทือน และการเคลื่อนไหวรอตัว
7. มักทหนาเด๋อเมื่อมีคนพูดด้วย
3. เด็กที่บกพร่องทางการมองเห็น (Children with Visual Impairments)
- มองไมเหน หรือพอเห็นแสง เห็นเลือนลาง
- บกพร่องทางสายาทั้งสองข้าง
- เห็นได้ไม่ถง 1/10 ของคนสายาปกติ
- มีลานสายตากว้างไม่เกิน 30 องศา
จำแนกได้ 2 ประเภท
1. ตาบอด
- ไม่สามารถมองเห็นได้เลย
- ต้องใช้ประสาทสัมผัสอื่นในการเรียนรู้
- มีสายตาข้างดีมองห็นได้ในระยะ 6/10 , 20/200 ลงมาจนถึง 20/200 หรือน้อยกว่านั้น
- มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดแคบ 5 องศา
2. ตาบอดไม่สนิท
- มีความบกพร่องทางสายตา
- มองเห็นบ้างแต่ไม่เท่ากับเด็กปกติ
- เมื่อทดสอบสายตาข้างดีจะอยู่ในระดับ 6/18 , 20/60 , 6/60 , 20/200 หรือน้อยกว่านั้น
- มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน 30 องศา
ลักษณะของเด็กกพร่องทางการเห็น
1. เด็กเดินงุ่มง่าม
2. มองเห็นสีผิดไปจากปกติ
3. มักบ่นว่าปวดศีรษะ คลื่นไส้ ตาลาย คันตา
4. ก้มศีรษะชิดกับงาน หรือของเล่นที่วางอยู่ตรงหน้า
5. เพ่งตา หรี่ตา หรือปิดตาข้างหนึ่งเมื่อใช้สายตา
6. ตาและมือไม่สัมพันธ์กัน
7. มีความลำบากในการจำและแยกแะสิ่งที่เป็นรูปร่างทรงเรขาคณิต
กิจกรรมการเรียน การสอน
1. ผู้สอนชี้แจงเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
- จิตพิสัย 10 คะแนน
- งานเดี่ยว (วิจัย) 10 คะแนน
- งานกลุ่ม (นำเสนอ) 20 คะแนน
- บันทึกอนุทิน (blog) 20 คะแนน
- โทรทัศน์ครู 10 คะแนน
- สอบกลางภาค 15 คะแนน
- สอบปลายภาค 15 คะแนน
2. วันนี้เรียนทฤษฎี เรื่อง เด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความหมาย
1. ทางการแพทย์ >> มกเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า "เด็กพิการ"
- เด็กผิดปกติ
- มีความบกพร่อง (กาย)
- สูญเสียสมรรถภาพ (สติปญญา และ จิตใจ)
2. ทางการศึกษา
- เด็กที่มีความต้องการทางการศึกษาเฉพาะของตัวเอง
- ต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็กปกติ ทางด้านเนื้อหา หลักสูตร กระบวนการใช้และประเมินผล
สรุปความหมาย
1. เด็กที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควร จากการให้ความช่วยเหลือ และการสอนตามปกติ
2. มีสาเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์
3. จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้น ช่วยเหลือ บำบัดและฟื้นฟู
4. จัดการเรียนการสอนที่เหมาะกับลักษณะและความต้องการของเด็กแต่ละบุคคล
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่
1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง
- มีปัญญาเลิศ (มีความเป็นเลิศทางสติปัญญา)
2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะความบกพร่อง
กระทรวงศึกษาธิการได้แบ่งออกเป็น 9 ประเภท ได้แก่
1. เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
2. เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
3. เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น
4. เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกสยและสุขภาพ
5. เด็กที่มีความบกพร่องทางการรพูดและภาษา
6. เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
7. เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
8. เด็กออทิสติก
9. พิการซ้ำซ้อน
-------------------------------------------------------------------------------------------------
1. เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา (Children with Inellectual Disabilities)
- เด็กมีระดับปัญญาหรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ย เมื่อเทียบกับเด็กในระดับอายเดียวกัน
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
1. เด็กเรียนช้า
2. เด็กปัญญาอ่อน
เด็กเรียนช้า
1. เรียนในชั้นเรียนปกติได้
2. มีความสามรถการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ
3. ขาดทักษะในการเรียนรู้
4. บกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย
5. ระดับปัญญา (IQ) ประมาณ 71 - 90
สาเหตุ
ภายนอก
1. เศรษฐกิจครอบครัว
2. สร้างเสริมประสบการณ์ให้แก่เด็ก
3. สภาวะด้านอารมณ์ของคนในครอบครัว
4. การเข้าเรียนไม่สม่ำเสมอ
5. วิธีการสอนไม่มีประสิทธิภาพ
ภายใน
1. พัฒนาการช้า
2. การเจ็บป่วย
เด็กปัญญาอ่อน
1. มีภาวะพัฒนาการหยุดชะงัก
2. แสดงลักษณะเฉพาะ คือ มีระดับปัญญาต่ำ
3. มีความสามารถในการเรียนรู้น้อย
4. มีความจำกัดทางด้านทักษะ
5. มีพัฒนาการทางร่างกายล่าช้าไม่สมวัย
6. มีความสามารถจำกัดในการปรบตัวต่อสิ่งแวดล้อม
แบ่งได้ 4 กลุ่ม (ตามระดับ IQ)
1. ปัญญาอ่อนขนาดหนักมาก IQ ต่ำกว่า 20
- ไม่สามารถเรียนรู้ทักษะด้านต่างๆได้เลย
- ต้องการเฉพาะการดูแลรักษาพยาบาบเท่านั้น
2. ปัญญาอ่อนขนาดหนัก IQ 20-34
- ไม่สามารถเรียนได้
- ต้องการเฉพาะการฝึกหัด การช่วยเหลือตัวเองในกิจวัตรประจำวันเบื้องต้นง่ายๆ
** 2 กลุ่มนี้โดยทั่วไปเรียกว่า C.M.R. (Custodial Mentel Retardation) **
4. ปัญญาอ่อนขนาดน้อย IQ 50-70
3. ปัญญาอ่อนขนาดปานกลาง IQ 35-49
- พอฝึกอบรมและเรียนทักษะเบื้องต้นง่ายๆได้
- สามารถฝึกอาชีพ หรือทำงานง่ายๆที่ไม่ต้องใช้ความละเอียดละออได้
- เรียก T.M.R. (Trainable Mentally Retarded)
- เรียนในรดับประถมได้
- สามารถฝึกอาชีพและงานง่ายๆได้
- เรียก E.M.R. ( Educable Mentally Retarded)
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา (ปัญญาอ่อน ดาวน์ซิลโดรม)
1. ไม่พูด หรือ พูดไม่สมวัย
2. ช่วงความสนใจสั้น วอกแวกง่าย
3. ความคิดและอารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่าย รอคอยไม่ได้
4. ทำงานช้า
5. รุนแรง ไม่มีเหตุผล
6. อวัยวะบางส่วนมีรูปร่างผิดปกติ กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน
7. ช่วยตัวเองได้น้อยกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
2. เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน (Children with Hearing Impaired)
- เด็กที่สูญเสียการได้ยิน
- รับฟังเสียต่างๆได้ไม่ชัดเจน
แบ่งได้ 2 ประเภท
1. เด็กหูตึง
- เด็กที่สูยเสียการได้ยิน
- สามารรับข้อมูลได้ โดยใช้เครื่องช่วยฟัง
จำแนกกลุ่มย่อยได้ 4 กลุ่ม
1. เด็กหูตึงระดับน้อย (ได้ยินระหว่าง 26-40 dB)
- เสียงกระซิบ หรือ เสียงจากที่ไกลๆ
2. เด็กหูระดับปานกลาง (ได้ยินระหว่าง 41-55 dB)
- มีปัญหาในการรับฟังเสียงพูดคุยที่ดังในระดับปกติ ในระยะห่าง 3-5 ฟุตและไม่เห็นหน้าผู้พูด
- จะไม่ได้ยิน ได้ยินไม่ชัด จับใจความไม่ได้
- มีปัญหาในการพูดเล็กน้อย เช่น พูดไม่ชัด ออกเสียงเพี้ยน
3. เด็กหูตึงมาก (ได้ยินระหว่าง 56-70 dB)
- มีปัญหาในการรับฟังและเข้าใจคำพูด
- เมื่อพูดคุยกันด้วยเสียงดังเต็มที่ก็ยังไม่ได้ยิน
- มีปัญหาในการรับฟังเสียงหลายเสียงพร้อมกัน
- มีพัฒนาการทางภาษาและการพูดช้ากว่าปกติ
- พูดไม่ชัด เสียงเพี้ยน บางคนไม่พูด
4. เด็กหูตึงระดับรุนแรง (ได้ยินระหว่าง 71-90 dB)
- จะมีปัญหาในการรับฟงเสียงและการเข้าใจคำพูดยากมาก
- ได้ยินเฉพาะเสียงที่ดังใกล้หูในระยะ 1 ฟุต
- พูดคุยกันด้วยน้ำเสียงตะโกนหรือใช้เครื่องขยายเสียง
- มีปัญหาในการแยกเสียง
- พูดไม่ชัด บางคนเสียงผิดปกติ บางคนไม่พูดเลย
- เด็กกลุ่มนี้ต้องใช้ภาษามือในการสื่อสาร
2. เด็กหูหนวก
- สูญเสียการได้ยินมากถึงขนาดทำให้หมดโอกาสที่จะเข้าใจภาษาพูกจากการได้ยิน
- ไม่สามารถใช้เครื่องช่วยฟังได้
- ไม่สามารถเข้าใจหรือใช้ภาษาพูดได้
- ระดับการได้ยินตั้งแต่ 91 dB ขึ้นไป
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
1. ไม่ตอบสนองเสียงพูด เสียงดนตรี มักตะแคงหูฟัง
2. ไม่พูด แต่มักแสดงท่าทาง
3. พูดด้วยเสียงแปลก มักเปล่งเสียงสูง
4. พูดด้วยน้ำเสียงต่ำหรือด้วยเสียงที่ดังเกินความเป็นจริง
5. เวลาฟังมักจะมองปากของผู้พูด หรือจ้องหน้าผู้พูด
6. รู้สึกไวต่อการสั่นสะเทือน และการเคลื่อนไหวรอตัว
7. มักทหนาเด๋อเมื่อมีคนพูดด้วย
3. เด็กที่บกพร่องทางการมองเห็น (Children with Visual Impairments)
- มองไมเหน หรือพอเห็นแสง เห็นเลือนลาง
- บกพร่องทางสายาทั้งสองข้าง
- เห็นได้ไม่ถง 1/10 ของคนสายาปกติ
- มีลานสายตากว้างไม่เกิน 30 องศา
จำแนกได้ 2 ประเภท
1. ตาบอด
- ไม่สามารถมองเห็นได้เลย
- ต้องใช้ประสาทสัมผัสอื่นในการเรียนรู้
- มีสายตาข้างดีมองห็นได้ในระยะ 6/10 , 20/200 ลงมาจนถึง 20/200 หรือน้อยกว่านั้น
- มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดแคบ 5 องศา
2. ตาบอดไม่สนิท
- มีความบกพร่องทางสายตา
- มองเห็นบ้างแต่ไม่เท่ากับเด็กปกติ
- เมื่อทดสอบสายตาข้างดีจะอยู่ในระดับ 6/18 , 20/60 , 6/60 , 20/200 หรือน้อยกว่านั้น
- มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน 30 องศา
ลักษณะของเด็กกพร่องทางการเห็น
1. เด็กเดินงุ่มง่าม
2. มองเห็นสีผิดไปจากปกติ
3. มักบ่นว่าปวดศีรษะ คลื่นไส้ ตาลาย คันตา
4. ก้มศีรษะชิดกับงาน หรือของเล่นที่วางอยู่ตรงหน้า
5. เพ่งตา หรี่ตา หรือปิดตาข้างหนึ่งเมื่อใช้สายตา
6. ตาและมือไม่สัมพันธ์กัน
7. มีความลำบากในการจำและแยกแะสิ่งที่เป็นรูปร่างทรงเรขาคณิต
วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 1
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)